การใช้ปริมาณมอร์ฟีนขนาด 0.1 มก.ใส่ในช่องน้ำไขสันหลังเพื่อระงับปวดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด hemiarthroplasty
ปฐม ห์ลีละเมียร*, ฐิติมา ชินะโชติ
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพฯ 10700 ประเทศไทย
บทคัดย่อ
บทนำ: การเติมมอร์ฟีนในช่องน้ำไขสันหลังเพื่อระงับปวดหลังผ่าตัดในผู้ป่วยกระดูกข้อสะโพกหัก เป็นวิธีที่ได้รับความนิยม แต่ยังพบว่ามีผลข้างเคียงโดยเฉพาะเรื่องคลื่นไส้ อาเจียน การวิจัยนี้จึงต้องการประเมินประสิทธิภาพการระงับปวดหลังการผ่าตัดโดยใช้มอร์ฟีนในขนาดที่น้อยมาก เพื่อลดการเกิดผลข้างเคียงในการบริหารยา
วิธีก: ผู้ป่วยกระดูกข้อสะโพกหักที่ได้รับการผ่าตัด hemiarthroplasty จะได้รับการฉีดยาชาเข้าในช่องน้ำไขสันหลัง โดยใช้ 0.5% bupivacaine ปริมาณ 3-3.5 มล. จำนวน 23 คนในกลุ่มควบคุม และจะเติมมอร์ฟีนปริมาณ 0.1 มก.เข้าไปด้วยสำหรับกลุ่มทดลองจำนวน 24 คน ทั้งสองกลุ่มได้รับการบันทึกเรื่องผลของการระงับปวดรวมถึงผลข้างเคียงหลังผ่าตัดเป็นเวลา 48 ชม.
ผลกรศึกษา: ไม่พบความแตกต่างทางด้านสถิติในข้อมูลของเพศ อายุ ASA classification โรคประจำตัว ระยะเวลาการ
บทนำ: การเติมมอร์ฟีนในช่องน้ำไขสันหลังเพื่อระงับปวดหลังผ่าตัดในผู้ป่วยกระดูกข้อสะโพกหัก เป็นวิธีที่ได้รับความนิยม แต่ยังพบว่ามีผลข้างเคียงโดยเฉพาะเรื่องคลื่นไส้ อาเจียน การวิจัยนี้จึงต้องการประเมินประสิทธิภาพการระงับปวดหลังการผ่าตัดโดยใช้มอร์ฟีนในขนาดที่น้อยมาก เพื่อลดการเกิดผลข้างเคียงในการบริหารยา
วิธีก: ผู้ป่วยกระดูกข้อสะโพกหักที่ได้รับการผ่าตัด hemiarthroplasty จะได้รับการฉีดยาชาเข้าในช่องน้ำไขสันหลัง โดยใช้ 0.5% bupivacaine ปริมาณ 3-3.5 มล. จำนวน 23 คนในกลุ่มควบคุม และจะเติมมอร์ฟีนปริมาณ 0.1 มก.เข้าไปด้วยสำหรับกลุ่มทดลองจำนวน 24 คน ทั้งสองกลุ่มได้รับการบันทึกเรื่องผลของการระงับปวดรวมถึงผลข้างเคียงหลังผ่าตัดเป็นเวลา 48 ชม.
ผลกรศึกษา: ไม่พบความแตกต่างทางด้านสถิติในข้อมูลของเพศ อายุ ASA classification โรคประจำตัว ระยะเวลาการ
 
ที่มา
วิสัญญีสาร ปี 2559, April-June ปีที่: 42 ฉบับที่ 2 หน้า 88-95
คำสำคัญ
intrathecal morphine, มอร์ฟีน, ระงับปวด, Low dose, hemiarthroplasty, ช่องน่ำไขสันหลัง